กิจกรรมที่ 24-28 มกราคม 2554

ตอบ  ข้อ 3.
วิธีการกำจัดขยะมูลฝอย ( Method of Refuse Disposal ) มีหลายวิธีด้วยกัน เป็นวิธีที่ดีถูกสุขลักษณะบ้างไม่ถูกสุขลักษณะบ้าง เช่น นำไปกองไว้บนพื้นดิน, นำไปทิ้งทะเล, นำไปฝังกลบ, ใช้ปรับปรุงพื้นที่, เผา, หมักทำปุ๋ย, ใช้เลี้ยงสัตว์ ฯลฯ การจัดการและการกำจัดขยะ แต่ละวิธีต่างมีข้อดีข้อเสียต่างกัน การพิจารณาว่าจะเลือกใช้วิธีใดต้องอาศัยองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ ที่สำคัญ คือ ปริมาณของขยะที่เกิดขึ้น รูปแบบการบริหารของท้องถิ่น, งบประมาณ, ชนิด – ลักษณะสมบัติของขยะมูลฝอย, ขนาด สภาพภูมิประเทศของพื้นที่ที่จะใช้กำจัดขยะมูลฝอย, เครื่องมือเครื่องใช้, อาคารสถานที่, ความร่วมมือของประชาชน, ประโยชน์ที่ควรจะได้รับ, คุณสมบัติของขยะ เช่น ปริมาณของอินทรีย์ อนินทรีย์สาร การปนเปื้อนของสารเคมีที่มีพิษและเชื้อโรค ปริมาณของของแข็งชนิดต่าง ๆ ความหนาแน่น ความชื้น

ตอบ  ข้อ 1.
น้ำค้างเกิดขึ้นจากละอองไอน้ำที่มีอยู่ในอากาศ เพราะโดยปรกติแล้ว น้ำมีการระเหยกลายเป็นไอแทรกซึมเข้าไปอยู่ในอากาศได้ทุกขณะ  ในเมื่อความชื้นของอากาศยังมีน้อยไม่ถึงจุดอิ่มตัว   แต่พออากาศอมเอาไอน้ำไว้ได้มากจนถึงจุดอิ่มตัวแล้ว  มันจะไม่ยอมรับไอน้ำที่ระเหยอีกต่อไป นอกจากมันจะได้  "คาย" ไอน้ำที่มีอยู่ในอากาศก่อนแล้วนั้นออกไปเสียบ้าง  

ตอบ  ข้อ 4.
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคม

ปฏิกิริยาเคมี หมายถึง การที่สารตั้งต้นเปลี่ยนไปเป็นผลิตภัณฑ์(สารใหม่)
เมื่อเวลาผ่านไปปริมาณของสารตั้งต้นจะลดลงขณะที่ปริมาณสารใหม่จะเพิ่มขึ้นจนในที่สุด

ตอบ  ข้อ 2.
พบว่าเมื่อเวลาผ่านไปอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีมีค่าลดลงนักเรียนคิดว่าเป็นผลมาจากความเข้มข้นของสารตั้งต้นลดลงหรือไม่  เพื่อตรวจสอบว่าความเข้มข้นของสารมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีหรือไม่

ตอบ  ข้อ 4.
เลขอะตอม (Atomic number) หมายถึง ตัวเลขที่แสดงถึงผลรวมจำนวนโปรตอนในอะตอมของธาตุ ซึ่งมีค่าเท่ากับจำนวนอิเล็กตรอน บางครั้งใช้สัญลักษณ์ Z

เลขมวล (Mass number) หมายถึงตัวเลขที่แสดงถึงผลรวมของจำนวนโปรตอนกับนิวตรอน บางครั้งใช้สัญลักษณ์ A

ตอบ  ข้อ 1.
พิจารณาจากสัญลักษณ์แล้วพบว่าจากฟอสฟอรัสที่มีจำนวนโปรตอน = 15-4 = 11
มีจำนวนอิเล็กตรอน = 15- 5 = 10
มีจำนวนนิวตรอน = (31-15)-5 =16
ซึ่งจะเห็นได้ว่าคุณสมบัติดังกล่าวตรงกับธาตุ Na+ ในตัวเลือก

ตอบ  ข้อ 3.
7 3A มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็น 2,1
14 7B มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็น 2,5
32 16X มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็น 2,8,6
30 19Y มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็น 2,8,8,1
จากการจัดเรียงอิเล็กตรอนพบว่าธาตุ A กับธาตุ Y อยู่หมู่เดียวกัน

ตอบ  ข้อ 2.
จากสมบัติของธาตุจะเห็นว่าธาตุ Ca จะเป็นธาตุที่มีการให้อิเล็กตรอนได้ดี ส่วน F จะเป็นธาตุที่มีการรับอิเล็กตรอนได้ดี ดังนั้นเมื่อมีการรวมกันเป็นไอออนโดยมีอัตราส่วนระหว่าง Ca : F เป็น 2 : 1 จะได้การเรียงอิเล็กตรอนเป็นดังนี้
Ca -----> Ca2+ มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็น 2,8,8
F -----> F- มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็น 2,8

ตอบ  ข้อ 1.
19A มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็น 2,8,8,1
34B มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็น 2,8,18,6
53C มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็น 2,8,18,18,7
ดังนั้นการเกิดสารประกอบของธาตุดังกล่าวจึงเป็นเช่นนี้
A:B เป็น 2:1 เขียนเป็นสูตรของสารประกอบได้เป็น A2B
A:C เป็น 1:1 เขียนเป็นสูตรของสารประกอบได้เป็น AC
B:C เป็น 1:2 เขียนเป็นสูตรของสารประกอบได้เป็น BC2

ตอบ  ข้อ 3.
ธาตุกัมมันตรังสี
ในปี พ.ศ. 2439 อองตวน อองรี เบ็กเคอเรล (Antonine Henri Becquerel) นักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศสได้พบว่าแผ่นฟิล์มถ่ายรูปที่ห่อหุ้มด้วยกระดาษดำและเก็บรวมไว้กับสารประกอบยูเรเนียมจะมีลักษณะเหมือนถูกแสงสว่าง เขาจึงได้ทดลองเก็บแผ่นฟิล์มไว้กับสารประกอบของยูเรเนียมชนิดอื่น ๆ ดูบ้าง ซึ่งก็พบว่าผลที่เกิดขึ้นเป็นเช่นเดียวกัน ดังนั้นเบ็กเคอเรสจึงได้สรุปว่า เหตุการณ์เช่นนี้เกิดขึ้นเนื่องจากธาตุยูเรเนียมมีสมบัติในการแผ่รังสีออกมาได้
หลังจากนั้น ปีแอร์ คูรี และ มารี คูรี (Pierre Curie and Marie Curie) นักวิทยาศาสตร์คู่สามีภรรยาชาวฝรั่งเศส ได้ค้นพบเพิ่มเติมว่า ธาตุยูเรเนียมไม่ได้เป็นธาตุเพียงชนิดเดียวที่สามารถแผ่รังสีออกมาได้ แต่ยังมีธาตุชนิดอื่น ๆ ที่สามารถแผ่รังสีออกมาได้เช่นเดียวกัน เช่น ธาตุพอลโลเนียม (Po), เรเดียม (Ra), และทอเรียม (Th) เป็นต้น ต่อมานักวิทยาศาสตร์ได้เรียกรังสีที่แผ่ออกมาจากธาตุต่าง ๆ ว่า กัมมันตภาพรังสี และเรียกธาตุต่าง ๆ ที่มีสมบัติในการแผ่รังสีว่า ธาตุกัมมันตรังสี


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น